“พระมหา ดร.พงศ์ศักดิ์ ฐานิโย” ผู้จบปริญญาเอกเร็วที่สุดในรอบ ๓๗๐ ปีของมหาวิทยาลัยชั้นนำประเทศญี่ปุ่น
นาฬิกาบอกเวลาบ่ายสองโมง เรารู้สึกตื่นเต้นกับนัดสำคัญ ที่จะได้สัมภาษณ์อาจารย์มหาวิทยาลัยด้านพุทธศาสตร์ชั้นนำของประเทศญี่ปุ่น เจ้าของสถิติ “ผู้จบปริญญาเอกเร็วที่สุดในรอบ ๓๗๐ ปี นับตั้งแต่ก่อตั้งมหาวิทยาลัยมา” “พระมหา ดร.พงศ์ศักดิ์ ฐานิโย” คือเจ้าของสถิตินี้
" กองทุนต้นสมบัติจักรพรรดิ " เพื่องานเผยแผ่พระพุทธศาสนาวิชชาธรรมกายไปทั่วโลก ประจำปีพุทธศักราช 2559
ประวัติความเป็นมาของวันมหาปวารณา
กำเนิดวันมหาปวารณา ประวัติความเป็นมาของการทำปวารณาในวันออกพรรษาเกิดขึ้นเมื่อไร ต้องปฏิบัติอย่างไรบ้าง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๗)
ฉบับนี้ ผู้เขียนจะขอพาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกประวัติศาสตร์ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) สมัยนั้นมีกลอนเพลงยาวสรรเสริญพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยหมื่นพรหมสมพัตสรหรือนายมี มหาดเล็กในรัชกาล ซึ่งบรรยายถึงพระราชหฤทัยเลื่อมใสพระพุทธศาสนาของพระองค์ไว้ดังตอนหนึ่งว่า...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๖)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนได้นำเสนอผลงานวิจัยการค้นพบ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่ประเทศไทย ฉบับก่อนหน้านั้น ผู้เขียนมีความเชื่อมั่นว่า ท่านผู้อ่านที่ติดตามเรื่องราวมาตลอด และผู้ใคร่ต่อการศึกษา นักวิชาการเมื่อได้อ่านบทความและรับทราบถึงข้อมูลที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผลพร้อมหลักฐานที่นำเสนอแล้วนั้น
ประวัติโดยสังเขป สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.๙)
ชาติภูมิสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดปากน้ำองค์ปัจจุบัน
คำว่า “ดุสิตบุรี”มีในพระไตรปิฎกหรือไม่ ?
คำว่า “ดุสิตบุรี”มีในพระไตรปิฎกหรือไม่ ? หรือพวกวัดพระธรรมกายบัญญัติขึ้นมาล่อชวนคนทำบุญเพื่อให้อยากขึ้นสวรรค์?
เจ๋ง เก่ง แน่
การที่คนเก่งทำตัวเหมือนอวดความรู้ของตนสมควรหรือไม่? คนเราเวลาทำดีหรือมีความเก่งแล้ว จะอยากให้คนอื่นรู้ทุกคนไหม?
การอนุโมทนาและมุทิตาจิต
คำว่า “อนุโมทนาบุญ” มีความหมายอย่างไร? การที่เรามุทิตาจิตถือเป็นการอนุโมทนาบุญอย่างหนึ่งหรือไม่? สำหรับคนที่เราไม่ชอบ เราจะวางใจร่วมยินดีกับเขาอย่างไร? การมุทิตาหรืออนุโมทนาบุญมีผลต่อสภาวะใจของเราใช่ไหม?
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน